วัดเขาวงศ์ ซึ่งตั้งอยู่เลขที่ 299 หมู่ 9 ตำบลย่านรี อำเถอกบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี ในพื้นที่ 22 ไร่เศษ ต่อมาได้รื้อที่ดินเพิ่มขั้นอีกเป็น 53 ไร่เศษ ตามหลักฐานคําบอกเล่าของนายเทียม อ่อนนา อดีต ผู้ใหญ่บ้านเขาด้วนในสมัยนั้น ซึ่งเป็นผู้ที่จดจําเหตุการณ์ได้เล่าให้ฟังว่า กว่าจะมีวัดเขาวงศเกิดข้นนั้น ใน ครั้งนั้นหมู่บ้านเขาด้วนแถบนี้ยังอยู่ห่างไกลความเจริญเป็นอย่างมาก ถนนทุกสายยังเป็นถนนลุกรังอยู่ การ เดินทางไปทําบุญตักบาตรในวัดของขาวบ้านในระยะนั้นตลอดจนการเดินทางไปทำบุญตักบาตรในวัดอื่น ค่อนข้างลําบากมาก กว่าจะไปถึงก็เหนื่อยและอ่อนหล้าแต่ก็ไปด้วยกําลังศรัทธา ด้วยเหตุนี้เอง ท่านจึงได้ เรียกประชุมชาวบ้านเขาด้วน บ้านดอยลําภู บ้านดอนโปร่ง บ้านเขาจาน บ้านหนองประดู่ บ้านในนสมบุรณ์ และอีกในหลายหมู่บ้าน มาร่วมประชุมและปรึกษาหาข้อตกลงกันเพื่อที่จะสร้างวัด ซึ่งมีความคิดริเริ่มของ นายเที่ยม อ่อนนา (ซึ่งเป็นผู้ใหญ่บ้านเขาต้วน หมู่ที่ 10 ในสมัยนั้น) ท่านได้มองเห็นว่าชาวในเบตปกครอง ยังขาดที่พึ่งทางใจนั้นก็คือวัด เมื่อชาวบ้านได้ทาบข่าวต่างก็พากันยินดีที่จะได้มีวัดไว้เพื่อเป็นที่พึ่งทางใจ และเป็นสถานที่ประกอบพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนาตลอดจนการทํากิจกรรมต่าง ๆ อันเป็นประโยชน์แก่ ประชารนอันยิ่ใหญ่ เมื่อประชุมกันเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ต่างก็เสนอให้ไปสร้างวัดในหมู่บ้านของตน จะได้สัญจรไปมา สะดวก โดยลืมคิดไปว่าวัดนั้นเป็นแหล่งศูนย์รวมจิตใจของคนทั้งหลาย ซึ่งจะให้เป็นวัดของใครคนใดคน หนึ่งนั้นต้องสร้างด้วยเงินของตัวเองทั้งสิ้น ดังนั้นวัดที่จะสร้างจะต้องอยู่กึ่งกลางหมู่บ้านหลายหมู่เพื่อที่จะ ละดวกในการมาทําบุญตักบาตร จนกระทั้งได้มีผู้สร้างวัดไว้ที่บ้านดอยลําภู ยกเสาเอกเป็นที่เรียบร้อยแล้ว แต่การดําเนินการท่อสร้างนั้นต้องหยุดซะงักลง เพราะกลุ่มที่ไปสร้างไว้นั้นไม่ได้รับความเห็นชอบจาก ผู้ใหญ่บ้านเขาด้วยเลียก่อนและพร้อมกับขาวบ้านอีกหลายหมู่บ้าน จึงได้มีการประชุมกันใหม่อีกครั้งหนึ่ง คราวนี้ได้มีมติจะสร้างวัดทางด้านทิศตะวันตกของโรงเรียนบ้านเขาด้วน แต่ปรากฏว่าเนื้ที่ที่ะลว้างวัดนั้น น้อยเกินไป จึงยกเลิกในการก่อสร้างวัด ในที่สุด นายเที่ยม อ่อนนา ก็ได้เรียกประชุมทันอีกเป็นครั้งที่ 3 แต่ในครั้งนี้ได้ให้มีการเสี่ยงทาย (ตามความเชื่อของขาวบ้านในแถบนี้) หากผลการเสี่ยงทายเป็นประการใดก็ให้ถือเอาผลการเสี่ยงทายนั้น และก็จะถือเป็นมติในการสร้างวัด ผลปรากฏว่าการเสียงทายได้หยุดลงที่เนินลาดสูง ทางด้าน ทิศตะวันตก ของบ้านเขาด้วน จึงได้ถือเอาสถานที่บริเวณนั้นเป็นที่สร้างวัด ซึ่งเหมาะสมมากเพราะในระหว่างหมู่บ้านต่อ หมู่บ้านประกอบกับความเห็นชอบของท่านผู้ใหญ่บ้านกับลูกบ้านด้วย ดังนั้นการท่อตร้างจึงได้เริ่มขึ้น โดย ได้รับการบริจาคพื้นที่ดินจาก นายลอง - นางหวิน นามวิชัย , นายไหล - นางเหมือย ดาพนม และนายด่า เมืองอินทร์
การก่อสร้างได้เริ่มขึ้น นายเทียม ข่อนนา ก็ได้ปาวประกาศเชิญชวนบรรดาทายท-ทายิทา อุบาสก-อุบาสิกา ผู้ใจบุญทั้งหลายได้ช่วยกันบริจาคไม้ทุกชนิด ที่สามารถนํามาใช้การได้ เหมือนกับนัดกัน ไว้ล่วงหน้ามาก่อนเป็นนานปีเลยที่เดียว ทุกคนต่างมีความปีติเมื่อได้ยินข่าวต่างก็พากันกลับไปบ้านของ ตนเองเพื่อไปหาไม้แผ่น-เสา-ฝาไม้-และอื่นที่สามารถท่าการก่อสร้างได้ ไม่ว่าจะเล็กหรือใหญ่ตามที่ตนมี บางบ้านมีเสาไม้ บางบ้านมีแผ่นไม้ใหญ่จนต้องเกณฑ์คนไปบรรทุกมาที่วัด ซึ่งทุกคนต่างก็ช่วยกันและกัน โดยไม่คิดค่าแรงและย่อท้อต่อความเหน็ดเหนื่อยที่มีโนตน เพราะทุกคนต่างก็หวังว่าอยากจะเห็นวัดที่เป็น รูปเป็นร่างสามารถไปทําบุญตักบาตที่วัดได้ นอกจากนั้นทีได้ับการสนับสนุนจากท่านสมาชิกสภาผู้แทน ราษฎร นายบุญส่ง สมใจ และพ่อค้าในตลาดกบินทร์บุรี
รวมทั้งประชาชนที่ได้บริจาคเงินและสังกะสีอีกด้วย จนกระทั่ง พิธีกาวยกเสาเอกเริ่มขึ้นตอนเช้าเมื่อของวันจันทร์ที่ 8 มีนาคม 2519 ขึ้น 8 คํา เดือน 4 ปีมะโรง เวลาประมาณ 08.30 น. โดยมีเจ้าอธิการชาตรี สุมโน (ซึ่งต่อมาได้รับเลื่อนเป็นพระครูสัญญา บัตที่พระครุดุมนสังฆการ) เจ้าคณะตําบลย่านรี วัดสิกขวัฒนาราม (บ้านซ่ง) มาเป็นประธานฝ่ายสงฆ์ พร้อมด้วยทายก-ทายิกา-อุบาสก-อุบาสิกา และชาวบ้านเขาด้วน ซึ่งมีนายเทียม อ่อนนา ผู้ใหญ่บ้านเป็น ประธานฝ่ายฆราวาส รวมกันประกอบพิธียกเสาเอก การสร้างวัดนี้เป็นที่น่าสังเกตว่า ไม่ได้ว่าจ้างช่างแม้แต่คนเดียว มีแต่อุปกรณ์การก่อสร้างเท่านั้นที่ จะต้องซื้อ ส่วนเครื่องมือการทํางานของทุกคนต่างก็หอบหิ้วมาจากบ้านของตน เมื่อเสร็จจากงานตอนเย็น ของทุกวันต่างก็รับผิดรอบของตัวเองไป เมื่อวันรุ่งขึ้นก็นํามาอีกครั้งหนึ่ง และเป็นอยู่อย่างนี้ทุทครั้งไป จน มาถึงวันที่ เมษายน 2519 ทุกคนต่างก็ขอหยุดเพื่อฉลองเทศกาลสงกรานต์ตามประเพณีอันสืบต่อกัน มาตั้งแต่สมัยโบราณจนถึงปัจจุบัน เมื่อช่วงเทศกาลสงกรานต์ผ่านไป ทุกคนจึงพร้อมใจกันมาทําต่ออีกครั้ง และเสร็จสิ้นจากการท่อสร้างท่อนเข้าพรรษาเดือนเศษในปีนั้นเอง ธรรมดาของการทํางานย่อมปัญหาอยู่บ้างไม่มากก็น้อย ปัญหาทุกอย่างทั้งการก่อสร้างและอื่น ๆ ก็สามารถผ่านพ้นไปได้ด้วยดี เพราะท่านผู้ใหญ่ท่านเป็นคนขยันในการทํางานและเอาใจใล่ในการก่อสร้าง ในครั้งเป็นอย่างดี ท่านลงมือทําด้วยตนเอง ลูกบ้านจึงมีกําลังใจในการทํางาน ท่านเล่าว่า ปัญหาเรื่องพระ มาจําพรรษานี้ถือว่าเป็นปัญหาหนักอกหนักใจของท่านมาตลอดและเป็นปัญหาใหญ่ยิ่งนัก และไม่รู้ว่าจะ ไปนิมนต์พระมาจําพรรษาได้อย่างไร จนต้องพาลูกบ้านออกเดินทางไปหาเจ้าอธิการชาตรี สุมใน เจ้าคณะ ตำบลย่านรี เพื่อให้จัดหาพระมาอย่าจ่าพรษา ปรากฏว่าท่านอนุมัติจัดส่งพระมาให้ทั้งหมด ถือว่า มากในครั้งนั้นรึ่งก็ด้วนเป็นพระบวชใหม่ทั้งสิ้น โดยมีพระยอด (ค่าขายาไม่ได้) เป็นหัวหน้า พระยอดรูปนี้ เคยบรรพชาธามแณนทาก่อนแล้วลาสิกขาออกไป กลับมาบวขยีกครั้งเป็นพระ ตังนั้น การลวดมนต์ การดูแล รักษาวัด การรักษาศรัทธาของชาวบ้านจึงไม่เป็นปัญหาเท่าไรมากนัก หลังจากออกพรรษาแล้ว พระทัง 5 รูปก็ลาสึกไปหมด จึงทําให้ที่พักสงฆ์บ้านเขาด้วนว่างลงเพราะไม่มีพระซึ่งไม่ต่างอะไรกับวัดร้าง ถึงกับต้องว่าจ้างคนไปนอนเผ้าวัด และทําให้ศรัทธาของชาวบ้านในขณะนั้นหวั่นไหวไม่มีที่พึ่งคลอนแคลนเมือสร้างวัดแล้วแต่กลับไม่มีพระอยู่วัดและชาวบ้านจะไปทําบุญตักบาตรที่ไหน ท่านผู้ใหญ่และขาวบ้านจึงได้ ไปกราบเรียนท่านเจ้าคณะตำบลอีกครั้งหนึ่ง เพื่อขอความเมตตาจากท่านและหวังว่าจะได้มีพระมาอยู่วัด อีกเซ่นเคย แต่สิ่งที่ได้คือความผิดหวังกลับมา เพราะท่านบอกว่าไม่มีพระมีพระแล้ว ท่านผู้ใหญ่และ ขาวบ้านจึงได้กลับมาด้วยความหดหุ่ใจและสินหวัง นึกว่ายังวัดร้างไม่มีพระมาอยู่จําพรรษาแน่นอน เมื่อพุทธศักชาร 2520 ความหวังความศรัทธาของขาวบ้านสิ่มมีความหวังขึ้นเมื่อท่านคู้ใหญ่ เทียม ได้พบกับหลวงพ่อรูปหนึ่งชื่อว่า ท้าว ที่ตลาดกบินท์บุรี รู้จักมักพบปะท่านผู้ใหญ่และชาบ้าน หลายคน จึงสอบถามและได้ความว่า ท่านได้จำพรรษายู่ที่วัดกลางเมืองเก่า ต.เมืองเก่า อ.กบินทร์บรี ได้กลับมานําพาชาวบ้านไปกราบอาราธนาท่านหลวงพ่อท้าวมาจากวัดนั้น ให้มาดำรงตำแหน่งเร้าส่าน้าที่ พักสงฆ์บ้านเขาด้วน จึงทำให้การก่อสร้างนั้นก็ค่อย ๆ ดำเนินเรื่อยมาจนมีสภาพที่เห็นในปัจจุบัน